บทที่4

ภาพ : Shutterstock

ภาพ : Pixabay
ข้อที่ 1)
บรรยากาศชั้นใดที่สะท้อนคลื่นวิทยุระบบ AM
1.มีโซสเฟียร์
2.สตราโตสเฟียร์
3.ไอโอโนสเฟียร์
4.เอกโซสเฟียร์
ข้อที่ 2)
ในการตั้งปัญหาของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ยึดหลักการใดเป็นสำคัญ
1.ทฤษฎี
2.สมมติฐาน
3.ข้อเท็จจริง
4.การทดลอง
ข้อที่ 3)
แก๊สในข้อใดมีลักษณะไม่มีกลิ่น ไม่มีสี เกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงรวมตัวกับร่างกาย
1.แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์
2.แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
3.แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
4.แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์
ข้อที่ 4)
อากาศจัดเป็นสารชนิดใด
1.สารบริสุทธิ์
2.สารประกอบ
3.สารเนื้อผสม
4.สารเนื้อเดียว
ข้อที่ 5)
ข้อใดไม่จัดเป็นการป้องกันมลพิษทางอากาศ
1.การปลูกป่าทดแทน
2.การปลูกต้นไม้ตามถนน
3.การใช้น้ำมันชนิดเพิ่มค่าออกเทน
4.การรักษาความสะอาดแหล่งน้ำต่างๆ
ข้อที่ 6)
ลมชนิดใดมีความเร็วลมต่ำสุด
1.ไต้ฝุ่น
2.โซนร้อน
3.ไซโคลน
4.ดีเปรสชัน
ข้อที่ 7)
เครื่องมือในการวัดความเร็วลมเรียกว่าอะไร
1.ศรลม
2.บารอมิเตอร์
3.ไฮกรอมิเตอร์
4.อะนิโมมิเตอร์
ข้อที่ 8)
บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ การเคลื่อนที่ของกระแสลมเป็นอย่างไร
1.พัดเวียนออกจากศูนย์กลาง ตามเข็มนาฬิกา
2.พัดเวียนออกจากศูนย์กลาง ทวนเข็มนาฬิกา
3.พัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง ตามเข็มนาฬิกา
4.พัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง ทวนเข็มนาฬิกา
ข้อที่ 9)
ข้อใดต่อไปนี้สามารถตากผ้าได้แห้งเร็วกว่าข้ออื่น
1.บริเวณที่มีอากาศชื้น ไม่มีแสงแดด
2.บริเวณที่มีท้องฟ้ามืดครึ้ม ลมพัดเล็กน้อย
3.บริเวณที่มีแสงแดดจัด ลมพัดแรง
4.บริเวณที่มีท้องฟ้าโปร่ง ลมพัดเล็กน้อย
ข้อที่ 10)
การเคลื่อนที่ของลมมีทิศทางการเคลื่อนที่เป็นอย่างไร
1.จากหย่อมความกดอากาศสูงไปสู่หย่อมความกดอากาศต่ำ
2.จากบริเวณความกดอากาศต่ำไปสู่หย่อมความกดอากาศสูง
3.จากบริเวณความกดอากาศต่ำไปสู่หย่อมความกดอากาศต่ำ
4.จากหย่อมความกดอากาศสูงไปสู่บริเวณความกดอากาศสูง
เฉลย
1.3
2.3
3.3
4.4
5.4
6.4
7.4
8.3
9.3
10.1
1. โลกประกอบด้วยองค์ประกอบทัÊงหมดกีÉส่วนอะไรบ้าง
ก. 3 ส่วน ได้แก่ ธรณีภาค ชีวภาค อุทกภาค
ข. 3 ส่วน ได้แก่ บรรยากาศ ชีวภาค พืÊนทวีป
ค. 4 ส่วน ได้แก่ ชีวภาค บรรยากาศ อุทกภาค ธรณีภาค
ง. 4 ส่วน ได้แก่ ชีวภาค บรรยากาศ อุทกภาค พืÊนทวีป
2. สิ่งที่ทําให้อากาศอยู่รอบตัวเราและห่อหุ้มโลกไว้ได้คืออะไร
ก. แรงดึงดูดของโลก
ข. แรงดึงของสนามแม่เหล็ก
ค. การหมุนรอบตัวเองของโลก
ง. การหมุนรอบดวงอาทิตย์ของโลก
3. แก๊สชนิดใดที่พบเป็ นส่วนประกอบของอากาศแห้งมากทีÉสุด
ก. แก๊สออกซิเจน
ข. แก๊สไนโตรเจน
ค. แก๊สอาร์กอนและฝุ ่ น
ง. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
4. ส่วนประกอบของอากาศชืนทีแตกต่างจากอากาศแห้งมากทีÉสุดคืออะไร
1. ปริมาณแก๊สไนโตรเจน
2. ปริมาณแก๊สออกซิเจน
3. ปริมาณไอนําและฝุ่นละออง
ก. 1
ข. 3
ค. 1 และ 2
ง. 1 และ 3
5. การกระทําของผู้ใดทีÉไม่ทํา ให้ส่วนประกอบของอากาศแตกต่างไปจากเดิม
ก. ป้ องทุบตึกเพืÉอก่อสร้างอาคารหลังใหม่
ข. โตติดตัÊงสถานีรับ – ส่งวิทยุกระจายเสียง
ค. นิÉมเปิ ดร้านขายอาหารประเภทปิÊ งย่างเช่น หมูย่าง ไก่ย่าง
ง. นิลทําสวนเกษตรปลูกต้อนมะม่วงและต้นมะม่วงกําลังเจริญเติบโต
6. อากาศชืÊนมีไอนํ Ê าร้อยละ 0 –4 โดยมวล หมายถึง ถ้านําอากาศมวล 100 กรัม มาวิเคราะห์ จะมีไอนํ Ê าอยู่มากทีÉสุดเท่าใด
ก. 4 กรัม
ข. 8 กรัม
ค. 20 กรัม
ง. 40 กรัม
7. ในอากาศ 5 กิโลกรัม จะมีมวลของไอนํ Ê าอยู่มากทีÉสุดเท่าใด
ก. 20 กรัม
ข. 40 กรัม
ค. 200 กรัม
ง. 400 กรัม
8. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของบรรยากาศ
ก. ช่วยในการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์
ข. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสมกับสิงมีชีวิต
ค. ช่วยดูดกลืนรังสีต่างๆ ไม่ให้ผ่านเข้าสู่โลกมากเกินไป
ง. ช่วยเสียดสีกับวัตถุภายนอกโลกทําให้ลุกไหม้หมดหรือมีขนาดเล็กก่อนตกสู่ผิวโลก
9. ถ้าโลกเราไม่มีบรรยากาศห่อหุ้มอุณหภูมิในช่วงกลางวันและช่วงกลางคืนจะเป็ นอย่างไร
ก. อุณหภูมิช่วงกลางวันและกลางคืนสูงมาก
ข. อุณหภูมิช่วงกลางวันสูงมาก อุณหภูมิช่วงกลางคืนตํÉามาก
ค. อุณหภูมิช่วงกลางวันตํÉามาก อุณหภูมิช่วงกลางคืนสูงมาก
ง. อุณหภูมิช่วงกลางวันและช่วงกลางคืนมีค่าเท่ากันและไม่เปลีÉยนแปลง
10. รังสีอัลตราไวโอเลตทีÉผ่านชัÊนบรรยากาศจะช่วยสังเคราะห์วิตามินใด
ก. วิตามินบี
ข. วิตามินซี
ค. วิตามินดี
ง. วิตามินเอ
เฉลย
ค
ก
ข
ข
ข
ก
ค
ก
ข
ค
ชั้นบรรยากาศของโลก
ในความเป็นจริง เมื่อเรามองขึ้นไปบนฟ้า เราจะเห็นก้อนเมฆ ดวงอาทิตย์ ท้องฟ้าสีฟ้า นก หรือวัตถุอื่น ๆ ที่อาจเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างเครื่องบิน ซึ่งสิ่งที่เราเห็นนั้นเป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งของชั้นบรรยากาศของโลกเท่านั้น
บรรยากาศ คือ อากาศที่ห่อหุ้มโลกหรือบรรยากาศที่อยู่รอบตัวเราตั้งแต่พื้นโลกขึ้นไป แรงดึงดูดของโลกที่มีต่อบรรยากาศทำให้บรรยากาศมีการเคลื่อนตัวตามการหมุนของโลกไปพร้อมกับพื้นโลก บรรยากาศทำให้สิ่งมีชีวิตบนโลกมีชีวิตอยู่ได้ โดยเป็นแหล่งออกซิเจนสำหรับการหายใจของสิ่งมีชีวิต เป็นแหล่งคาร์บอนไดออกไซด์ให้พืชใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ช่วยป้องกันรังสี UV จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มาถึงพื้นโลก และทำให้สะเก็ดดาวถูกเผาไหม้ก่อนที่จะตกลงสู่พื้นโลกและเป็นอันตรายแก่สิ่งมีชีวิต
ประโยชน์ของบรรยากาศนั้นแตกต่างกันไปในตามแต่ชั้นบรรยากาศ โดยเราสามารถแบ่งชั้นบรรยากาศของโลกออกได้ ดังนี้

1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere)
เป็นชั้นบรรยากาศชั้นล่างสุด ห่างจากพื้นดินขึ้นไปประมาณ 10 กิโลเมตร หรือ 33,000 ฟุต เป็นชั้นที่มีมนุษย์อาศัยอยู่ มีลักษณะเด่นคือ อุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลงตามความสูง โดยอุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น ดังนั้น ยิ่งสูงขึ้น อุณหภูมิจะยิ่งลดต่ำลงในอัตรา 6.5 ํC ต่อ 1 กิโลเมตร จนกระทั่งความสูงประมาณ 12 กิโลเมตร อุณหภูมิจะคงที่ประมาณ -60 ํC นอกจากนี้ชั้นโทรโพสเฟียร์ยังมีไอน้ำมาก ทำให้มีสภาพอากาศรุนแรงและแปรปรวน มีเมฆมาก เกิดพายุ และฝนบ่อยครั้ง
2. สตราโทสเฟียร์ (Stratosphere)
เป็นชั้นถัดจากโทรโพสเฟียร์ มีความสูงประมาณ 50 กิโลเมตร จากพื้นดิน มีอากาศเบาบาง ไม่มีเมฆและพายุ มีเพียงความชื้นและผงฝุ่น มีปริมาณความเข้มข้นของโอโซนมาก โอโซนจะช่วยดูดกลืนรังสี UV จากดวงอาทิตย์ ไม่ให้ส่องมายังพื้นผิวโลกมากเกินไป นอกจากนี้เครื่องบินเจ็ตยังนิยมบินช่วงรอยต่อระหว่างชั้นโทรโพสเฟียร์และสตราโทสเฟียร์ เนื่องจากสภาพอากาศนิ่งสงบ
3. มีโซสเฟียร์ (Mesosphere)
อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 85 กิโลเมตร อุกกาบาตที่พุ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลกส่วนใหญ่จะถูกเผาไหม้ในชั้นนี้ ขณะที่อุณหภูมิจะลดลงตามความสูง ยิ่งสูงขึ้นจะยิ่งหนาว และหนาวที่สุดประมาณ -90 ํC โดยพบบริเวณช่วงบนของบรรยากาศชั้นนี้ นอกจากนั้นยังมีอากาศที่เบาบางมากอีกด้วย
4. เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere)
อยู่ถัดจากชั้นมีโซสเฟียร์ขึ้นไป มีความสูงจากพื้นดินประมาณ 85-500 กิโลเมตร อุณหภูมิในชั้นนี้จะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนถึงระดับ 100 กิโลเมตร เนื่องจากอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่า 3 ชั้นแรก และจากนั้นอัตราการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิจะลดลง โดยอุณหภูมิในชั้นบนของเทอร์โมสเฟียร์ (Upper Thermosphere) จะอยู่ที่ 500-2,000 ํC อากาศในชั้นนี้มีแก๊สชนิดต่าง ๆ ที่เป็นประจุไฟฟ้า เรียนว่า ไอออน ซึ่งสามารถสะท้อนคลื่นวิทยุบางชนิด มีประโยชน์ในการสื่อสาร และกรองรังสีต่าง ๆ ที่มาจากนอกโลกได้ เช่น รังสีเอกซ์รังสี UV นอกจากนี้ดาวเทียมจำนวนมากยังโคจรรอบโลกอยู่ในชั้นนี้ด้วย
5. เอกโซสเฟียร์ (Exosphere)
เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่สูงจากผิวโลกตั้งแต่ 500 กิโลเมตรขึ้นไป ไม่มีขอบเขตชัดเจนระหว่างบรรยากาศและอวกาศ องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียม

ทุกคนคงจะทราบกันแล้วว่าบนท้องฟ้าที่สูงขึ้นไปเหนือหัวของเราไม่ได้มีแค่เพียงนก ก้อนเมฆ เท่านั้น แต่ยังมีก๊าซต่าง ๆ ที่มีประโยชน์กับตัวเรามากมาย อย่างไรก็ตาม กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการคมนาคมขนส่ง การทำโรงงานอุตสาหกรรม ล้วนปล่อยก๊าซพิษสู่ชั้นบรรยากาศ กระทั่งทำลายบางส่วนของชั้นบรรยากาศไป และเป็นสาเหตุหนึ่งของปรากฏการณ์เรือนกระจกแและภาวะโลกร้อน
เเบบทดสอบเรื่อง...ชั้นบรรยากาศ
พร้อมเฉลย
บรรยากาศชั้นใดที่สะท้อนคลื่นวิทยุระบบ AM
1.มีโซสเฟียร์
2.สตราโตสเฟียร์
3.ไอโอโนสเฟียร์
4.เอกโซสเฟียร์
ข้อที่ 2)
ในการตั้งปัญหาของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ยึดหลักการใดเป็นสำคัญ
1.ทฤษฎี
2.สมมติฐาน
3.ข้อเท็จจริง
4.การทดลอง
ข้อที่ 3)
แก๊สในข้อใดมีลักษณะไม่มีกลิ่น ไม่มีสี เกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงรวมตัวกับร่างกาย
1.แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์
2.แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
3.แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
4.แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์
ข้อที่ 4)
อากาศจัดเป็นสารชนิดใด
1.สารบริสุทธิ์
2.สารประกอบ
3.สารเนื้อผสม
4.สารเนื้อเดียว
ข้อที่ 5)
ข้อใดไม่จัดเป็นการป้องกันมลพิษทางอากาศ
1.การปลูกป่าทดแทน
2.การปลูกต้นไม้ตามถนน
3.การใช้น้ำมันชนิดเพิ่มค่าออกเทน
4.การรักษาความสะอาดแหล่งน้ำต่างๆ
ข้อที่ 6)
ลมชนิดใดมีความเร็วลมต่ำสุด
1.ไต้ฝุ่น
2.โซนร้อน
3.ไซโคลน
4.ดีเปรสชัน
ข้อที่ 7)
เครื่องมือในการวัดความเร็วลมเรียกว่าอะไร
1.ศรลม
2.บารอมิเตอร์
3.ไฮกรอมิเตอร์
4.อะนิโมมิเตอร์
ข้อที่ 8)
บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ การเคลื่อนที่ของกระแสลมเป็นอย่างไร
1.พัดเวียนออกจากศูนย์กลาง ตามเข็มนาฬิกา
2.พัดเวียนออกจากศูนย์กลาง ทวนเข็มนาฬิกา
3.พัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง ตามเข็มนาฬิกา
4.พัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง ทวนเข็มนาฬิกา
ข้อที่ 9)
ข้อใดต่อไปนี้สามารถตากผ้าได้แห้งเร็วกว่าข้ออื่น
1.บริเวณที่มีอากาศชื้น ไม่มีแสงแดด
2.บริเวณที่มีท้องฟ้ามืดครึ้ม ลมพัดเล็กน้อย
3.บริเวณที่มีแสงแดดจัด ลมพัดแรง
4.บริเวณที่มีท้องฟ้าโปร่ง ลมพัดเล็กน้อย
ข้อที่ 10)
การเคลื่อนที่ของลมมีทิศทางการเคลื่อนที่เป็นอย่างไร
1.จากหย่อมความกดอากาศสูงไปสู่หย่อมความกดอากาศต่ำ
2.จากบริเวณความกดอากาศต่ำไปสู่หย่อมความกดอากาศสูง
3.จากบริเวณความกดอากาศต่ำไปสู่หย่อมความกดอากาศต่ำ
4.จากหย่อมความกดอากาศสูงไปสู่บริเวณความกดอากาศสูง
เฉลย
1.3
2.3
3.3
4.4
5.4
6.4
7.4
8.3
9.3
10.1
1. โลกประกอบด้วยองค์ประกอบทัÊงหมดกีÉส่วนอะไรบ้าง
ก. 3 ส่วน ได้แก่ ธรณีภาค ชีวภาค อุทกภาค
ข. 3 ส่วน ได้แก่ บรรยากาศ ชีวภาค พืÊนทวีป
ค. 4 ส่วน ได้แก่ ชีวภาค บรรยากาศ อุทกภาค ธรณีภาค
ง. 4 ส่วน ได้แก่ ชีวภาค บรรยากาศ อุทกภาค พืÊนทวีป
2. สิ่งที่ทําให้อากาศอยู่รอบตัวเราและห่อหุ้มโลกไว้ได้คืออะไร
ก. แรงดึงดูดของโลก
ข. แรงดึงของสนามแม่เหล็ก
ค. การหมุนรอบตัวเองของโลก
ง. การหมุนรอบดวงอาทิตย์ของโลก
3. แก๊สชนิดใดที่พบเป็ นส่วนประกอบของอากาศแห้งมากทีÉสุด
ก. แก๊สออกซิเจน
ข. แก๊สไนโตรเจน
ค. แก๊สอาร์กอนและฝุ ่ น
ง. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
4. ส่วนประกอบของอากาศชืนทีแตกต่างจากอากาศแห้งมากทีÉสุดคืออะไร
1. ปริมาณแก๊สไนโตรเจน
2. ปริมาณแก๊สออกซิเจน
3. ปริมาณไอนําและฝุ่นละออง
ก. 1
ข. 3
ค. 1 และ 2
ง. 1 และ 3
5. การกระทําของผู้ใดทีÉไม่ทํา ให้ส่วนประกอบของอากาศแตกต่างไปจากเดิม
ก. ป้ องทุบตึกเพืÉอก่อสร้างอาคารหลังใหม่
ข. โตติดตัÊงสถานีรับ – ส่งวิทยุกระจายเสียง
ค. นิÉมเปิ ดร้านขายอาหารประเภทปิÊ งย่างเช่น หมูย่าง ไก่ย่าง
ง. นิลทําสวนเกษตรปลูกต้อนมะม่วงและต้นมะม่วงกําลังเจริญเติบโต
6. อากาศชืÊนมีไอนํ Ê าร้อยละ 0 –4 โดยมวล หมายถึง ถ้านําอากาศมวล 100 กรัม มาวิเคราะห์ จะมีไอนํ Ê าอยู่มากทีÉสุดเท่าใด
ก. 4 กรัม
ข. 8 กรัม
ค. 20 กรัม
ง. 40 กรัม
7. ในอากาศ 5 กิโลกรัม จะมีมวลของไอนํ Ê าอยู่มากทีÉสุดเท่าใด
ก. 20 กรัม
ข. 40 กรัม
ค. 200 กรัม
ง. 400 กรัม
8. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของบรรยากาศ
ก. ช่วยในการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์
ข. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสมกับสิงมีชีวิต
ค. ช่วยดูดกลืนรังสีต่างๆ ไม่ให้ผ่านเข้าสู่โลกมากเกินไป
ง. ช่วยเสียดสีกับวัตถุภายนอกโลกทําให้ลุกไหม้หมดหรือมีขนาดเล็กก่อนตกสู่ผิวโลก
9. ถ้าโลกเราไม่มีบรรยากาศห่อหุ้มอุณหภูมิในช่วงกลางวันและช่วงกลางคืนจะเป็ นอย่างไร
ก. อุณหภูมิช่วงกลางวันและกลางคืนสูงมาก
ข. อุณหภูมิช่วงกลางวันสูงมาก อุณหภูมิช่วงกลางคืนตํÉามาก
ค. อุณหภูมิช่วงกลางวันตํÉามาก อุณหภูมิช่วงกลางคืนสูงมาก
ง. อุณหภูมิช่วงกลางวันและช่วงกลางคืนมีค่าเท่ากันและไม่เปลีÉยนแปลง
10. รังสีอัลตราไวโอเลตทีÉผ่านชัÊนบรรยากาศจะช่วยสังเคราะห์วิตามินใด
ก. วิตามินบี
ข. วิตามินซี
ค. วิตามินดี
ง. วิตามินเอ
เฉลย
ค
ก
ข
ข
ข
ก
ค
ก
ข
ค
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น